ผู้เขียน หัวข้อ: จดบริษัท ประหยัดภาษีจริงไหม ?  (อ่าน 7 ครั้ง)

ออฟไลน์ Lali

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 1
  • Karma: +0/-0
    • ดูรายละเอียด
จดบริษัท ประหยัดภาษีจริงไหม ?
« เมื่อ: วันนี้ เวลา 01:44:49 AM »


อยากวางแผนเปิดธุรกิจเป็นของตัวเอง แต่ยังคงเกิดข้อสงสัยว่า การ จดบริษัท ดีจริงไหม ช่วยประหยัดภาษีได้หรือไม่? วันนี้ นรินทร์ทอง ได้เตรียมข้อมูลในด้านต่างๆ เกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัทมาไว้ให้คุณแล้วในบทความนี้!


[/color]จดบริษัทประหยัดภาษีจริงไหมเรียกว่าอะไร?[/font]

หัวข้อนี้ นรินทร์ทอง เราได้นำข้อมูลของอัตราภาษีบุคคลธรรมดา มาเปรียบเทียบกับนิติบุคคล เพื่อให้ทุกคนเข้าใจถึงอัตราการเสียภาษีของทั้ง 2 รูปแบบ
[/color]เปรียบเทียบอัตราภาษีบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล SMEs[/size]

การเปรียบเทียบอัตราภาษีบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล จะมี[/color]วิธีการคำนวณคือ เงินได้สุทธิ = เงินได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน[/size] โดย[/color]ภาษีสำหรับบุคคลธรรมดานั้น จะคิดบนอัตราก้าวหน้าตั้งแต่ 0-35%[/size] แต่สำหรับบริษัทจะเสียภาษีที่อัตราคงที่ ถ้าเป็น[/color]กิจการขนาดเล็ก SMEs จะไม่เสียภาษีสำหรับกำไร 300,000 บาทแรก 15%[/size] สำหรับฐานภาษีระหว่างช่วง[/color] 300,001-3,000,000 บาท และ 20%[/size][/color]หลังจากนั้น[/size] และบริษัททั่วไปที่ไม่ใช่กิจการ SMEs [/color]จะเสียภาษีที่อัตราคงที่ 20% ทุกช่วงกำไรสุทธิ [/size]
ในกรณีที่ทำธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา ถ้าหากเงินได้สุทธิมีจำนวนน้อย การทำธุรกิจในฐานบุคคลธรรมดาจะมีอัตราภาษีที่น้อยกว่า แต่ถ้า[/color]หากธุรกิจมีรายได้มาก และคาดการณ์ว่าจะเติบโตอีกในอนาคต[/size][/color]การจดทะเบียนบริษัทจะช่วยให้เสียภาษีในอัตราที่ถูกกว่า[/size] ซึ่งสามารถนำเปรียบเทียบในรูปแบบตารางได้ดังนี้

[/color]- อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา[/size]
1. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท รายได้สุทธิ 0%จะได้รับการยกเว้นภาษี
2. เงินได้สุทธิ 150,001-300,000 บาท รายได้สุทธิ 5%จะต้องชำระอัตราภาษี 5%
3. เงินได้สุทธิ 300,001-500,000 บาท รายได้สุทธิ 10%จะต้องชำระอัตราภาษี 10%
4. เงินได้สุทธิ 500,001 – 750,000 บาท รายได้สุทธิ 15%จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
5. เงินได้สุทธิ 750,001 – 1,000,000 บาท รายได้สุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
6. เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาท รายได้สุทธิ 25%จะต้องชำระอัตราภาษี 25%
7. เงินได้สุทธิ 2,000,001 – 3,000,000 บาท รายได้สุทธิ 30%จะต้องชำระอัตราภาษี 30%
8. เงินได้สุทธิ 3,000,001 – 5,000,000 บาท รายได้สุทธิ 30%จะต้องชำระอัตราภาษี 30%
9. เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 บาทขึ้นไป รายได้สุทธิ 35%จะต้องชำระอัตราภาษี 35%
[/color]- อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล SMEs[/size]
1. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท กำไรสุทธิ 0%จะได้รับการยกเว้นภาษี
2. เงินได้สุทธิ 150,001-300,000 บาท กำไรสุทธิ 0%จะได้รับการยกเว้นภาษี
3. เงินได้สุทธิ 300,001-500,000 บาท กำไรสุทธิ 15%จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
4. เงินได้สุทธิ 500,001 – 750,000 บาท กำไรสุทธิ 15%จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
5. เงินได้สุทธิ 750,001 – 1,000,000 บาท กำไรสุทธิ 15%จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
6. เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาท กำไรสุทธิ 15%จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
7. เงินได้สุทธิ 2,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 15%จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
8. เงินได้สุทธิ 3,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
9. เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 บาทขึ้นไป กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
[/color]- อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล[/size]
1. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
2. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
3. เงินได้สุทธิ 150,001-300,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
4. เงินได้สุทธิ 300,001-500,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
5. เงินได้สุทธิ 500,001 – 750,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
6. เงินได้สุทธิ 750,001 – 1,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
7. เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
8. เงินได้สุทธิ 2,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
9. เงินได้สุทธิ 3,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
10. เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 บาทขึ้นไป กำไรสุทธิ 20%จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
- สำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่มีรายได้ไม่มาก เหมาะสมกับธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล SMEs
- ธุรกิจที่มีรายได้มากและไม่เข้าเงื่อนไขเป็น SMEs เหมาะที่จะประกอบธุรกิจในรูปแบบนิติบุคคลมากกว่า การประกอบกิจการในฐานะบุคคลธรรมดา
[/color]ค่าใช้จ่ายแฝงในการ จดบริษัท[/font]


การประกอบธุรกิจในรูปแบบบริษัท ส่วนใหญ่หวังใช้ประโยชน์จากอัตราภาษีที่ถูกกว่าแบบบุคคลธรรมดา แต่ต้องแลกมาด้วยการจัดทำเอกสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การทำบัญชี การจัดส่งภาษี การจัดส่งงบการเงิน การจัดทำเอกสารรายได้ เอกสารค่าใช้จ่าย และอื่นๆ

ไม่อยากเสียเวลาจัดทำเอกสาร จ้างสำนักงานบัญชี นรินทร์ทอง[/color]https://www.narinthong.com/%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%97%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%9a%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%99/%e0%b8%88%e0%b8%94%e0%b8%9a%e0%b8%a3%e0%b8%b4%e0%b8%a9%e0%b8%b1%e0%b8%97-%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%ab%e0%b8%a2%e0%b8%b1%e0%b8%94%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%a9%e0%b8%b5%e0%b8%88%e0%b8%a3%e0%b8%b4/[/size][/url]] คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่



[/color]ใครควรจดทะเบียนบริษัท ?[/font]


จากเนื้อหาในข้างต้นจะเห็นว่า บุคคลที่พร้อมจดทะเบียนบริษัท คือ [/color]ผู้ประกอบการที่ธุรกิจเริ่มมีรายได้เพิ่มมากขึ้น[/size] ซึ่งถ้าหากคุณดำเนินธุรกิจในฐานะบุคคลธรรมดา และต้องเสียอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสูงกว่า 20% หรือมีรายได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มากกว่า 750,000 บาทขึ้นไป นั่นเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าคุณควรจดทะเบียนบริษัททันที อีกปัจจัยที่เป็นตัวช่วยตัดสินใจว่า คุณควรจดทะเบียนบริษัทหรือไม่ คือ การนำเอาปัจจัยต่างๆ ได้แก่ [/color]รายได้ ค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อนของกิจการ มาคำนวณภาษีเปรียบเทียบกัน ทั้งแบบบุคคลธรรมดา และแบบนิติบุคคล [/size]



[/color]สรุป จดทะเบียนบริษัท ประหยัดภาษีจริงไหม[/font]

โดยสรุปแล้ว การจดทะเบียนบริษัทเป็นรูปแบบนิติบุคคล [/color]สามารถช่วยประหยัดภาษีได้มากกว่ารูปแบบบุคคลธรรมดาจริง[/size] และยังส่งผลดีต่อบริษัทในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น[/color]เรื่องของภาษี การหักค่าใช้จ่ายที่สามารถหักได้ตามจริง และ ยังเพิ่มความน่าเชื่อถือของธุรกิจได้ [/size]หากผู้ประกอบการท่านใดที่อยากหาผู้ช่วยที่สามารถให้คำปรึกษา ในเรื่องของบัญชีและภาษีให้กับกิจการของคุณได้อย่างมืออาชีพ ขอแนะนำ[/color][/size][/url]บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

    • [/color]การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี[/size]
    [/list]

      • [/color]รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้[/size]
      [/list]

        • [/color]งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท[/size]
        [/list]

          • [/color]ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ[/size]
          [/list]
           
          สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
          Facebook : NarinthongOfficial
          E-mail : narinthong.ac@gmail.com
          Line : @Narinthong
          Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339