ข้อมูลส่วนตัว

แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - Lali

หน้า: [1]
1


%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87https://www.narinthong.com/]บริษัท [/color]นรินทร์ทอง[/size][/color][/url[/font][/size]] บทความนี้เราจะชวนทุกคน มาไขข้อสงสัย พร้อมแนะนำรูปแบบการจดทะเบียน ทั้งแบบ บริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด (หจก) ว่าต่างกันยังไง? เพื่อให้คุณสามารถเลือกจดทะเบียนได้ถูกต้อง
เรียนรู้วิธีการจดทะเบียนบริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพิ่มเติมคลิกอ่านที่นี่


[/color]หจก กับ บริษัท ต่างกันยังไง?[/font]

[/color]https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2021/11/%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%992-768x768.jpg[/center[/font][/size]]
1 . อย่างแรกเลยนั่นก็คือ จำนวนผู้ร่วมลงทุน (จำนวนผู้ถือหุ้นหรือผู้ก่อตั้ง)


    • บริษัทจำกัด : ผู้ร่วมลงทุนหรือว่าผู้ถือหุ้นจะต้องมีอย่างน้อย 3 คนขึ้นไป
    [/list]

      • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ต้องมีผู้ร่วมลงทุนหรือผู้ถือหุ้น 2 คน ขึ้นไป
      [/list]

      2. การลงทุนระหว่าง หจก กับ บริษัท


        • บริษัทจำกัด : การลงทุนแบบการจดทะเบียนบริษัท สามารถจัดตั้งบริษัทได้โดยหุ้นขั้นต่ำที่ 15 บาทขึ้นไป และหุ้นสามารถโอนให้แก่กัน หรือ โอนให้แก่บุคคลภายนอกได้
        [/list]

          • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ในส่วนของห้างหุ้นส่วนจะแบ่งเป็น 2 ประเภทนั่นก็คือ
          [/list]
          – หุ้นส่วนที่ไม่จำกัดความรับผิดชอบ หรือ  หุ้นส่วนผู้จัดการ : หุ้นส่วนผู้จัดการจะมีอำนาจในการบริหารงานทั้งหมด และสามารถลงทุนได้ด้วยแรงงาน ทรัพย์สิน และเงินสด เป็นต้น
          – หุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดชอบ หรือ หุ้นส่วนทั่วไป : หุ้นส่วนทั่วไปจะไม่มีอำนาจในการบริหารหรือตัดสินใจ ส่วนการลงทุนของหุ้นส่วนทั่วไป สามารถลงทุนได้แค่ทรัพย์สิน และเงินสดเท่านั้น
          3. ความรับผิดชอบ


            • บริษัทจำกัด : ผู้ถือหุ้นแต่ละคนรับผิดจำกัดไม่เกินจำนวนเงินที่ลงหุ้น
            [/list]

              • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ในส่วนของหุ้นส่วนผู้จัดการ ต้องร่วมกันรับผิดไม่จำกัดจำนวน (รวมถึงทรัพย์สินส่วนตัวด้วย) แต่หุ้นส่วนทั่วไปรับผิดแค่เงินที่ตัวเองได้ลงทุนไว้
              [/list]
              4. ค่าธรรมเนียม


                • บริษัทจำกัด : ค่าธรรมเนียมจัดตั้งจะอยู่ที่ 5,000 บาท (ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง)
                [/list]

                  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ค่าธรรมเนียมจะอยู่ที่ 1,000 บาท (ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง)
                  [/list]

                  [/color]https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2021/11/%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%993-768x768.jpg[/center[/font][/size]]
                  5. การปิดงบการเงินประจำปี


                    • การปิดงบการเงินประจำปีของ บริษัท จำกัด : สามารถให้ผู้สอบบัญชี (CPA) เซ็นรับรองงบการเงินได้
                    [/list]

                      • การปิดงบการเงินประจำปีของ ห้างหุ้นส่วน จำกัด : สามารถให้ผู้สอบบัญชี (CPA) หรือสามารถให้ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA) เซ็นรับรองงบการเงินได้
                      [/list]
                      6.อัตราภาษี

                      การจดทะเบียน บริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องเสียอัตราภาษีก้าวหน้า 15%-30% และต้องส่งรายงานบัญชีให้กรมสรรพากร
                      7. ความน่าเชื่อถือ


                        • บริษัทจำกัด : สูง
                        [/list]

                          • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ปานกลาง
                          [/list]

                          อ่านวิธีการ การจดทะเบียนบริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด แบบละเอียด เพิ่มเติมคลิก


                          [/color]สรุปแล้วการจดทะเบียนแบบไหนเด่น และดีด้านไหนบ้าง ?[/font]





                            • [/color]บริษัทจำกัด : มีความน่าเชื่อถือมากกว่า เพราะมีแบบแผน มีความมั่นคง เหมาะกับธุรกิจที่ต้องติดต่อกับคนจำนวนมากๆ และข้อดีอีกอย่างก็คือ สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้มากกว่า[/size]
                            [/list]

                              • [/color]ห้างหุ้นส่วนจำกัด : มีความได้เปรียบกว่าในเรื่องของการดำเนินงาน เพราะไม่จำเป็นต้องมีการประชุมลงมติ ทำให้การตัดสินใจสามารถทำได้เร็ว และมีความยืดหยุ่นมากกว่า เหมาะสำหรับธุรกิจเล็กๆ นอกจากนี้ยังมีขั้นตอนการจดทะเบียนที่ง่ายกว่า และมีค่าธรรมเนียมถูกกว่าด้วย[/size]
                              [/list]

                              เรียนรู้วิธีการจดทะเบียนบริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพิ่มเติมคลิกอ่านที่นี่




                              [/color]อยากจดทะเบียน บริษัท กับ ห้างหุ้นส่วน เลือกทำที่นรินทร์ทอง[/font]

                              บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด เราเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชี และภาษี รวมไปถึงการจดทะเบียนนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วน ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี ทำให้มั่นใจได้เลยว่าหากเลือกใช้บริการกับเรา จะทำให้ธุรกิจของคุณพัฒนาได้อย่างก้าวกระโดดแน่นอน อยากเติบโตในธุรกิจเลือก Narinthong !!

                                • [/color]การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี[/size]
                                [/list]

                                  • [/color]รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้[/size]
                                  [/list]

                                    • [/color]งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท[/size]
                                    [/list]

                                      • [/color]ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ[/size]
                                      [/list]
                                       
                                      สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
                                      Facebook : NarinthongOfficial
                                      E-mail : narinthong.ac@gmail.com
                                      Line : @Narinthong
                                      Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339



                                      2



                                      จดเบียนบริษัทออนไลน์ กับ DBD Biz Regist Step By Step
                                      การจดทะเบียนบริษัทจะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เพราะเราสามารถ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist ได้ด้วยตัวเอง สำหรับใครที่ต้องการศึกษาหาข้อมูลก่อนจดทะเบียน %E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87https://www.narinthong.com/]บริษัท นรินทร์ทอง[/url[/font][/size]] รวบรวมข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการ จดบริษัทออนไลน์ ไว้ในบทความนี้

                                      เรียนรู้วิธีการ จดบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist เพิ่มเติมคลิก


                                      DBD Biz Regist คืออะไร


                                      คือ ระบบจดทะเบียนนิติบุคคลดิจิตอล โดยกรมพัฒนาการค้า หากคุณต้องการจดทะเบียนบริษัท ผ่านระบบ DBD Biz Regist แนะนำให้ใช้ ThaiD เพราะคุณสามารถใช้ข้อมูลจาก ThaiD ตั้งแต่ขั้นตอนแรก ไปจนถึงขั้นตอนสุดท้าย



                                      อ่านเอกสารที่ต้องใช้ในการ จดบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist เพิ่มเติมคลิก


                                      ค่าใช้จ่ายในการจดบริษัท
                                      การจดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist จะมีค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 6,400 บาท / จด หจก. อีก 1,500 บาท
                                      สำหรับใครที่ต้องการจ้างจดทะเบียนบริษัท ผ่านทางออนไลน์ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ ค่าใช้จ่ายการจดทะเบียนบริษัท

                                      ขั้นตอนการ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่าน DBD Biz Regist

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist3-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • ทำการสมัครสมาชิก โดยมีให้เลือก 2 ส่วนคือ
                                      1. สมัครสมาชิกเป็น “ผู้แทนจดทะเบียน”
                                      2. สมัครสมาชิกเป็น “ผู้รับรองลายมือชื่อ”

                                      • โดยทั่วไปผู้ที่ต้องการจดทะเบียนจะเลือก “สมัครสมาชิกเป็นผู้แทนจดทะเบียน” หากไม่อยากกรอกข้อมูลเยอะ สามารถเข้าสู่ระบบด้วย Digital ID ได้ และเลือก ThaiD
                                      • จากนั้นจะมี QR Code ขึ้นมา
                                      • หลังอ่านเงื่อนไข > กดยินยอม > กดยอมรับ และสามารถดำเนินการต่อได้เลย

                                      หลังจากเข้าสู่ระบบด้วย Digital ID ระบบจะกลับมาที่หน้าแรก ให้เลือก ‘สมัครสมาชิกเป็นผู้แทนจดทะเบียน’ เช่นเดิม

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist4-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • จากนั้นจะเห็นข้อมูลส่วนตัวขึ้นมาอัตโนมัติ > กดดำเนินการต่อ
                                      • กรอกเบอร์โทรศัพท์ และกรอกที่อยู่ในประเทศไทย
                                      • จากนั้นระบบจะให้ยืนยันการส่งข้อมูลอีกครั้ง > กดดำเนินการต่อ
                                      • ทางระบบจะส่ง PIN Code ให้ทาง E-Mail จากนั้นใส่ PIN Code ที่ได้รับและกดยืนยัน ทางเว็บไซต์จะขึ้นว่า ‘ลงทะเบียนสำเร็จ’


                                      ขั้นตอนที่ 1 ระบุข้อมูลบริษัท



                                      • เข้ามาที่หัวข้อ ‘จัดตั้งบริษัท’ หากต้องการจดบริษัททันที เลือกหัวข้อ ‘จดหนังสือบริคณห์สนธิพร้อมจัดตั้งบริษัท’



                                      • รายการข้อมูลที่จำเป็น ต้องเตรียมก่อนจดจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมา ให้กดรับทราบด้านล่าง และกดดำเนินการต่อ

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist8-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • ระบุข้อมูลบริษัท ในขั้นตอนนี้ให้เริ่มจากการระบุข้อมูล ‘ชื่อบริษัท’ หากใครต้องการตั้งชื่อเฉพาะ ต้องจองชื่อในกรมธุรกิจารค้าก่อน

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist9-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • ตราประทับของบริษัท หากไม่มีให้กด ‘ไม่มี’ และถ้าบริษัทไหนมีให้กด ‘มี’ และแนบรูปแบบตราประทับ



                                      • ทุนบริษัท ะหมายถึง ทุนจดทะเบียนต่อหุ้น มูลค่าหุ้นขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5 บาท



                                      • ทำการกรอกข้อมูลที่ตั้ง เมื่อกรอกเรียบร้อยแล้วกดดำเนินการต่อ จากนั้นระบบจะส่ง PIN Code ให้ทาง E-Mail เพื่อกดยืนยัน
                                      ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มข้อมูลบุคคลในบริษัท



                                      • ระบุข้อมูลส่วนตัวผู้เริ่มก่อการ (เริ่มจัดตั้งบริษัทต้องมีอย่างน้อย 2 คน) หากกรอกข้อมูลขั้นตอนแรกครบถ้วน ระบบจะขึ้นข้อมูลส่วนตัวให้อัตโนมัติ แต่ต้องระบุข้อมูลตรง ‘อาชีพ’ เพิ่มเติม สำหรับผู้เริ่มก่อการคนที่ 2 จะต้องกรอกข้อมูลส่วนตัวเพิ่มเติม

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist12-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • กรอกข้อมูลผู้ถือหุ้น หากมีมากกว่าผู้เริ่มก่อการ สามารถเพิ่มรายชื่อผู้ถือหุ้นได้ ในส่วนของขั้นตอนนี้ให้ทำการกรอก ‘จำนวนหุ้น’ (ต้องตรงกับข้อเท็จจริง) และ ‘จำนวนเงินที่ชำระค่าหุ้น’ (ชำระแล้วต้องไม่ต่ำกว่า 25%)

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist14-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • กรอกข้อมูลกรรมการ เป็นได้ทั้งผู้ถือหุ้นและไม่ได้เป็นผู้ถือหุ้น หากเป็นผู้ถือหุ้นให้เลือก ‘ชื่อกรรมการจากรายชื่อผู้ถือหุ้น’ หากไม่ได้เป็นผู้ถือหุ้น ให้เลือก ‘ตั้งบุคคลอื่นเป็นกรรมการ’

                                      ขั้นตอนที่ 3 สร้างเอกสาร

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist15-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • เลือกวัตถุประสงค์ของธุรกิจ เป็นวัตถุประสงค์เฉพาะ หากทำธุรกิจตรงกับหัวข้อไหนในระบบสามารถกดเลือกได้เลย แต่ถ้าธุรกิจของเราเป็นธุรกิจทั่วไป ให้เลือก ‘ไม่ใช่ธุรกิจพิเศษ’ จากนั้นจะมีวัตถุประสงค์ขึ้นมา ให้เลือกวัตถุประสงค์ที่ตรงกับประเภทธุรกิจ

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist16-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • เลือกรหัสธุรกิจ ค้นหารหัสที่มีหมวดหมู่ตรงกับธุรกิจของคุณ จากนั้นทำการกดบันทึก และดำเนินการต่อ

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist17-2.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • สร้างข้อบังคับของบริษัท ถ้ามี ให้เลือก ‘มีข้อบังคับ’ ทางระบบมีให้เลือกทั้งแบบสำเร็จรูป และกำหนดเอง แต่ถ้าไม่มีข้อบังคับ ให้เลือก ‘ไม่มีข้อบังคับ’ หมายถึงยึดตามกฎหมายเป็นหลัก

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist18-1.jpg[/center[/font][/size]]

                                      • รายละเอียดการประชุม เป็นขั้นตอนที่ต้องกรอกรายละเอียดต่างๆ ตั้งแต่วันที่ประชุมจัดตั้งบริษัท, เวลาเปิด – ปิดการประชุม, สถานที่ประชุม, ข้อมูลประธานที่ประชุม, ค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งบริษัท, ข้อมูลผู้สอบบัญชี
                                      ขั้นตอนที่ 4 ข้อมูลการประกอบธุรกิจ

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist19-1.jpg

                                      • ข้อมูลประกอบธุรกิจ ในหัวข้อแรกจะขึ้นมาว่า รายการอื่นซึ่งเห็นสมควรให้ประชาชนทราบ ให้ตอบว่า ‘ไม่มี’ และถัดมาคือ แบบบันทึกคำขอ ในส่วนนี้คุณสามารถเลือกจดบริษัทพร้อมจด Vat ได้
                                      ขั้นตอนที่ 5 สรุปข้อมูลทั้งหมด

                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2024/11/DBD-Biz-Regist20.jpg
                                      ในขั้นตอนนี้ หากใครที่จดทะเบียนบริษัท แนะนำว่าควรปริ้นเอกสารในส่วนนี้เก็บไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐาน เมื่อคำขอตรวจสอบผ่านจากนั้น ให้กด ‘ขั้นตอนถัดไป’ จากนั้นทางระบบจะมีให้เลือก 3 ช่องทาง คือ
                                      1. ยื่นจดทะเบียนออนไลน์
                                      2. ยื่นแบบต่อหน้านายทะเบียน
                                      3. ยื่นโดยแนบเอกสารเข้าระบบ
                                      ช่องทางที่สะดวกที่สุดคือ ยื่นจดทะเบียนออนไลน์ ซึ่งสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลังจากนั้นจะเข้าสู่ขั้นตอน ‘ชำระเงิน’

                                      อ่านรายละเอียดวิธีการ จดบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz RegistRegist แบบเจาะลึกคลิก


                                      อยากได้ที่ปรึกษา จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ แบบส่วนตัว แนะนำที่ นรินทร์ทอง
                                      สำหรับใครที่ทำธุรกิจแล้วอยากได้ที่ปรึกษา ในการ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ แบบส่วนตัว แนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัดสำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

                                      • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
                                      • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
                                      • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
                                      • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
                                       
                                      สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
                                      Facebook : NarinthongOfficial
                                      E-mail : narinthong.ac@gmail.com
                                      Line : @Narinthong
                                      Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


                                      3
                                      https://www.narinthong.com/wp-content/uploads/2025/03/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1-%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%93%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A31.png[/center[/font][/size]]

                                      สิ่งสำคัญที่ต้องรู้ก่อนทำธุรกิจประเภทโรงแรม คือ เรื่องการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม เนื่องจากโรงแรมถือเป็น อสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เพื่อการพาณิชย์ สำหรับผู้ประกอบการท่านใด ที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับโรงแรม ในบทความนี้[/color][/size][/url]%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87[/color]https://www.narinthong.com/][/size][/color]นรินทร์ทอง[/size][/color][/url[/font][/size]] เราได้รวบรวมข้อมูลน่ารู้เกี่ยวกับเรื่องภาษีที่ดินโรงแรม รวมทั้งแชร์วิธีการคำนวณ เพื่อแบ่งปันข้อมูลให้ทุกท่านได้นำไปใช้ในธุรกิจ
                                      เรียนรู้เรื่อง ภาษีที่ดินโรงแรม ก่อนทำธุรกิจ อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


                                      [/color]ภาษีที่ดินโรงแรม คือ[/font]


                                      "ภาษีที่ดินโรงแรม" หมายถึง ภาษีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ใช้ประกอบกิจการโรงแรมในประเทศไทย โดยสามารถแยกลักษณะของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่[/color][/color]โรงเรือนเช่น โรงแรม รีสอร์ต โรงพยาบาล เป็นต้น[/font][/size][/color]สิ่งปลูกสร้างอื่นๆหมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่นที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น สะพาน ท่าเรือ เป็นต้น [/font]
                                      [/color]ใครต้องเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม และ สิ่งปลูกสร้าง[/size]


                                      สำหรับผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คือ ผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง เช่น ตึก อาคาร คอนโดมิเนียม หรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบการพาณิชย์ต่างๆ


                                      [/color]มีอัตราภาษีอย่างไร[/font]


                                      อัตราการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม นั้นจะอยู่ที่ 0.3-0.7% และเริ่มเสียภาษีเมื่อผู้ประกอบการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ธุรกิจโรงแรมตั้งอยู่
                                      [/color]วิธีการคำนวณ (และ ตัวอย่างการคำนวณ) ภาษีที่ดินโรงแรม[/size]


                                      อัตราภาษีที่ดินและสิ่งที่ปลูกสร้าง ไม่ว่าจะเป็นในนามบุคคล หรือ นิติบุคคล จะจัดเก็บที่ร้อยละ 0.3-0.7% ซึ่งสามารถคำนวณจากมูลค่าของฐานภาษี ตามสูตรในรูปข้างต้น
                                      [/color]ตัวอย่างวิธีการคำนวณภาษี[/size]

                                      ยกตัวอย่างเช่น หากเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างโรงแรมมีมูลค่า ดังนี้

                                        • ที่ดิน มูลค่า 5,000,000 บาท
                                        [/list]

                                          • สิ่งปลูกสร้าง (หักค่าเสื่อมแล้ว) 2,0000,000 บาท
                                          [/list]

                                            • รวมมูลค่า 7,000,000 บาท
                                            [/list]

                                              • เมื่อเทียบกับตารางจะอยู่ในช่วง 0-50 ล้านบาท
                                              [/list]
                                              ดังนั้น ภาษีที่ต้องเสียคือ 7,000,000 x 0.3% = 21,000 บาท

                                              [/color]สรุปความสำคัญ การเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม[/font]

                                              โดยสรุปจะเห็นว่า การเสียภาษีที่ดินโรงแรม เป็นเรื่องที่จำเป็นต้องทำตามกฎหมายกำหนด เพราะมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจในภาพรวม ทั้งในแง่รายได้รัฐ การใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ หากผู้ประกอบการท่านใด ต้องการให้เราช่วยวางแผนเตรียมพร้อมก่อนทำธุรกิจโรงแรม ช่วยคำนวณภาษีโรงแรม หรือมีคำถามเพิ่มเติมปรึกษาได้ที่[/color][/size][/url]บริษัท นรินทร์ทอง จำกัดทางเราให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

                                                • [/color]การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี[/size]
                                                [/list]

                                                  • [/color]รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้[/size]
                                                  [/list]

                                                    • [/color]งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท[/size]
                                                    [/list]

                                                      • [/color]ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ[/size]
                                                      [/list]
                                                       
                                                      สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
                                                      Facebook : NarinthongOfficial
                                                      E-mail : narinthong.ac@gmail.com
                                                      Line : @Narinthong
                                                      Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

                                                      หน้า: [1]